ศึกษาธิการ – นายจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 1) ให้พิจารณาตั้ง 2) การจัดนิทรรศการให้มีความน่าสนใจ จากการที่ได้มีโอกาสเยี่ยมชมนิทรรศการต่างๆ ทั้งของรัฐ เอกชน สถานศึกษา และหน่วยงานต่างๆ ทำให้เห็นว่า ศธ.ควรมีรูปแบบการจัดนิทรรศการที่น่าสนใจ มีคนเข้ามาเยี่ยมชมจำนวนมาก ไม่ใช่จัดในลักษณะไม่มีใครดูใคร จึงมอบ สป. เชิญผู้แทนแต่ละองค์กรหลักตั้งทีมงานเพื่อหารือและเชิญผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญมาช่วยวางแผน หรือจัดการอบรม แนะนำความรู้ แนวคิดใหม่ๆ ในการจัดนิทรรศการให้มีความน่าสนใจ โดยเฉพาะสาขาหรือคณะในมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่มีองค์ความรู้เรื่องนี้ เช่น คณะศิลปศาสตร์ เป็นต้น โครงการ 1 อำเภอ 1 ทุน รุ่นที่ 4 รอบสอง ดร.สุทธศรี วงษ์สมาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวในที่ประชุมว่า จากการไปตรวจเยี่ยมสนามสอบเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2556 ได้รับทราบข้อมูลจากคณะกรรมการโครงการฯ ว่า ได้ดำเนินการจัดสอบพร้อมกัน 77 สนามสอบทั่วประเทศใน 75 จังหวัด มีจำนวนนักเรียนที่ การขับเคลื่อนนโยบาย ศธ.สู่การปฏิบัติ ( สำนักงาน ก.ค.ศ. ได้รายงานให้ที่ประชุมรับทราบในประเด็นการวางแผนปฏิรูประบบการผลิตและพัฒนาครู การย้าย วิทยฐานะ และการแก้ปัญหาการขาดแคลนอัตรากำลังครู โดยเฉพาะระบบการย้ายและประเมินวิทยฐานะครู/ผู้บริหาร ซึ่งจะเน้นไปที่ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเป็นหลัก ส่วนอัตราเกษียณ ศธ.ในช่วง 5 ปีข้างหน้ากว่า 2 แสนอัตรานั้น สำนักงาน ก.ค.ศ.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำลังปรับปรุงเกณฑ์อัตรากำลัง และดำเนินการเพิ่มประสิทธิภาพครูที่มีอัตราขาดแคลน รมว.ศธ.กล่าวว่า การทำงานในเรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องใหญ่มาก และหลายเรื่องจะต้องโยงกับหลายหน่วยงาน ซึ่งอาจจะต้องพบปัญหาแนวทางที่จะดำเนินการร่วมกันหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงควรพิจารณาเรื่องที่ การสรุปปัญหาบุคลากร งบประมาณ และข้อร้องเรียนที่เกี่ยวข้องของ ศธ. ที่ประชุมได้รับทราบรายงานสรุปข้อมูลปัญหาและความคืบหน้าในการดำเนินการด้านบุคลากร งบประมาณ และข้อร้องเรียนต่างๆ ของ ศธ. คือ – เรื่องที่เสนอไว้เดิม เช่น เงินอุดหนุนรายหัว สช., การปรับค่าใช้จ่ายรายหัว กศน., การขออัตรากำลังเพิ่มใหม่ในมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, การขอปรับปรุงอัตราเงินเดือน 8% ของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา, เงินสมทบกองทุนสงเคราะห์โรงเรียนเอกชน รมว.ศธ.ขอให้แบ่งหมวดหมู่และรวบรวมประเด็นปัญหาต่างๆ ให้ครบถ้วน ให้เห็นข้อมูลเปรียบเทียบ เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาถึงความจำเป็นในแต่ละเรื่อง รวมทั้งผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับหน่วยงานและกระทรวงต่างๆ ส่วนเรื่องร้องเรียนต่างๆ ที่เข้ามายัง ศธ. นั้น ขอให้เอาภาพต่างๆ มาซ้อนกัน เพื่อจะได้เห็นชัดๆ ว่า ศธ.ได้ดูแลหรือยังในเรื่องที่ต้องดูแล หรือแก้ปัญหาการร้องเรียนไปได้แล้วมากน้อยอย่างไร ความคืบหน้าแผนการศึกษาเพื่อพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา การปฏิรูปหลักสูตร รมว.ศธ.ได้ขอให้แต่ละองค์กรหลักฝากช่วยคิดการปฏิรูปหลักสูตร ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องพยายามผลักดันให้เกิดผลสำเร็จ ซึ่งอาจเชิญให้คณะบุคคลหรือหน่วยงานต่างๆ ที่เป็นผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder) ที่สำคัญๆ ได้เข้ามาร่วมดำเนินการปฏิรูปหลักสูตรให้มากขึ้น เช่น คณบดีคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษา เป็นต้น
– เรื่องที่เสนอเข้ามาใหม่ เช่น การจ้างลูกจ้างชั่วคราว สอศ., การพัฒนาคุณภาพการศึกษาชายแดนภาคใต้, การขอรับงบประมาณฟื้นฟูเยียวยาโรงเรียนเอกชนที่ประสบเหตุอุทกภัย, การปรับเงินเดือนครูเอกชน
– เรื่องที่ดำเนินการแก้ไขในเบื้องต้นแล้ว เช่น เงินวิทยฐานะครู สพฐ.. การจ้างเหมาลูกจ้างชั่วคราวและจ้างเหมาบริการ สพฐ., การปรับเงินเพิ่มตามคุณวุฒิให้กับพนักงานมหาวิทยาลัย, การพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา 52 แห่ง, โครงการพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ของสถาบันอุดมศึกษา, เงินประจำตำแหน่งในสถาบันอุดมศึกษาในสายงานจิตวิทยาคลินิก, ร่างกฎ ก.พ.อ.ว่าด้วยการสั่งให้ออกจากราชการฯ, การจ้างเหมาบริการลูกจ้างชั่วคราวของ สป./สำนักงาน กศน./สำนักงานรัฐมนตรี
สรุป/รายงาน
29/10/2556
ภารกิจ รมว.ศธ. (นางสาวตรีนุช เทียนทอง)